วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งสำรองข้อมูล

1.คำสั่ง tarทำหน้าที่ขยายไฟล์แอพพลิเคชั่นและชุดแพคเกจรูปแบบการใช้งาน tar <พารามิเตอร์> <ไฟล์>ตัวอย่าง tar -xvf test.tarจัดเก็บไฟล์ให้รวมกันไว้ที่เดียว2.คำสั่ง gzipทำหน้าที่บีบอัดไฟล์รูปแบบการใช้งานgzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้gzip star.txt star.zip filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar 3.คำสั่งgunzip คือขยายไฟล์ที่บีบไว้รูปแบบการใช้งานgunzip <พารามิเตอร์> <ไฟล์ > <พารามิเตอร์>ตัวอย่างการใช้งานgunzip star.zip

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

1.คำสั่ง telnetเป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 98 ก็มี)รูปแบบ $ telnet hostnameเช่น c:\> telnet comsci.rid.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ comsci.rid.ac.th $ telnet 202.28.54.182 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.28.54.182$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้นเมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง2.คำสั่ง ftpftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pubรูปแบบ $ ftp hostnameคำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftpftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftpftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้นftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเองftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhostftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> cd ใช้เปลี่ยน directoryftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์3.lynxโปรแกรมเว็บบราวเซอร์แบบ text4.mesgเปิด/ปิดการรับข้อความจากคำสั่ง write5.pingทดสอบการตอบสนองของโฮสต์ปลายทาง6.writeคำสั่งส่งข้อความไปยังจอภาพอื่น

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

การใช้โปรแกรม captivate 3

การใช้งานโปรแกรม Adobe Captivate

Adobe Captivate 3.0ปัจจุบันสื่อเรียนรู้หรือสื่อการนําเสนอมีรูปแบบที่หลากหลาย ทั้งสื่อแบบข้อความ รูปภาพ เสียงภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย ที่บรรจุอยู่ในแผ่นซีดี หรือเผยแพร่ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่นํามาสร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอแบบมัลติมีเดียที่เรารู้จักนั้นมีมากมายหลายโปรแกรม เช่น Office TLEImpress, Microsoft PowerPoint, Macromedia Authorware, Macromedia Flash ฯลฯ โปรแกรมเหล่านี้จะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้เพื่อพอสมควรจึงจะสร้างงานออกมาได้ ทําความรู้จัก Adobe Captivate 3.0 โปรแกรมAdobe Captivate 3.0 เป็นผลิตภัณฑ์น้องใหม่จากค่าย Adobe ที่ถูกพัฒนาขึ้น มาเพื่อสนับสนุนการสร้าง Movie ในรูปแบบสื่อเรียนรู้ หรือสื่อการนําเสนอแบบมัลติมีเดีย เช่น การนําเสนอผลงาน การจับหน้าจอภาพเพื่อนําไปสร้างสื่อเรียนรู้ การสร้างแบบทดสอบ รวมไปถึงการตัดต่อวิดีโอเพื่อใช้สําหรับงานนําเสนอหรือผลิตสื่อเรียนรู้ โดยโปรแกรม Adobe Captivate 3.0 เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างชิ้นงานได้ง่ายและเร็วจุดเด่นของโปรแกรม Adobe Captivate3.0• สร้างสื่อเรียนรู้หรือสื่อนําเสนอมัลติมีเดียได้อย่างง่ายดาย• ตัดต่อวิดีโอได้ทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว• สร้างสื่อเรียนรู้โดยการจับหน้าจอภาพ (Screen capture movie) ประกอบเสียงบรรยาย• เหมาะสําหรับการนําไปใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน• สร้างแบบทดสอบได้ง่าย(ทำข้อสอบแบบ random ได้แล้ว สำหรับเวอร์ชั่นนี้)• นําเข้าไฟล์จากแหล่งต่างๆ ได้หลากหลาย ไฟล์รูปภาพ (Image) เช่น JPG, BMP, GIF ไฟล์เสียง (Sound) เช่น MP3, WAV เสียงบรรยายผ่านไมโครโฟน ไฟล์วิดีโอ (Video) เช่น AVI สไลด์จากโปรแกรม Microsoft Power Point (.PPT)Captivate 3.0• ส่งออกไฟล์ได้หลายรูปแบบ Flash movie File (.swf) ลักษณะเช่นเดียวกับโปรแกรม Macromedia Flash HTML File (.html) สําหรับการนําไปใช้กับเว็บไซต์ EXE File (.exe) สําหรับการนําไปใช้แบบ Stand alone คือ การแสดงผลโดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม Adobe captivate
URLPDF]เอกสารประกอบการอบรมโปรแกรม Adobe Captivate 3รูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLความตองการทรัพยากรโดยรวม Adobe Captivate 3: Authoring .... เปนรูปแบบการสรา งงานจากแมแบบสําเร็จรูปมีใหเลือกใช2 วิธีการคือ ...e-learning.vec.go.th/file.php/1/data_sukhum/TrainingAdobeCaptivate3New.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

การใช้โปรแกรม vmware

การใช้โปรแกรม vmware
VMware เป็นโปรแกรม virtual Machine มีความสามารถจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง ไว้ในเครื่องเดียว บนระบบปฏิบัติการวินโดว์ จริง ๆ ก็ใช้กับระบบปฏิบัติอื่น ๆ ได้ด้วย ซึ่งทำให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกในการทดลอง ทดสอบติดตั้งระบบปฏิบัติการ โดยที่ไม่ต้องทำอะไรกับเครื่องคอมพิวเตอร์จริง ๆ ซึ่งเป็นเรื่องยุ่งยาก หากเราจะมานั่งทดสอบลงระบบปฏิบัติการกับเครื่องคอมพิวเตอร์จริง ๆ ต้องใช้เวลานาน และอาจจะส่งผลเสียกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลต่าง ๆ อีกมากมาย สำหรับโปรแกรมที่ใช้ทดสอบคือ VMware Workstation 6.0.4 ลองจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ CPU ปกติตาความเร็วเครื่อง RAM 256 MB ฮาร์ดดิสก์ IDE ซีดีรอม ี่ในที่นี้ไม่ใช้ซีดีจริง ๆ นะครับ เป็นอิมเมจไฟล์ที่โคลนมาจากซีดีอีกที อย่างอื่นก็พื้น ๆ การ์ดแลนท์ การ์ดเสียง การ์ดจอภาพ
การติดตั้งและการทำงานของ VMware1.เริ่มสร้าง เครื่องที่ใช้ทดสอบใหม่ เป็นระบบปฏิบัติการ Windows XP2.เข้าที่เมนู file >> New >> Virtual Machine3.เข้าสู่เมนู วิซาส ต่อไป4.เลือกที่ Typical5.เลือกระบบปฏิบัติการ เพื่อกำหนดฮาร์ดแวร์ ให้เหมาะสม6.ตั้งชื่อให้กับเครื่องนี้7.ตั้งค่าเน็ตเวอร์ค User bridgen networking คือ นำไอพีจริงที่เครื่องใช้มาใช้เลย User network address translation (NAT) สร้างระบบเน็ตเวอร์คขึ้นใหม่โดยใช้ NAT สร้างวงแลนท์ขึ้นใหม่8.กำหนดค่าความจุดิสก์9.จากนั้นก็ได้เครื่องจำลองที่พร้อมจะใช้งานแล้วดับเบิ้ลคลิ๊ก ที่ Devices เพื่อปรับแต่งฮาร์ดแวร์ได้10.ปรับแต่ฮาร์ดดิสก์สักหน่อย11.เลือกที่ซีดีไดร์ ได้ครับว่าจะให้สตร์าท ที่ไดร์ไหน อักษรไดร์ตามจริงกับที่มีในเครื่องครับ12.อันนี้จะไม่เล่นกับซีดีแผ่นจริง ใช้อิมเมจไฟล์ดีกว่า คลิ๊ก Browse.. เพื่อค้นหาไฟล์อิมเมจที่เราเก็บไว้ในเครื่อง13.เมื่อปรับแต่งเสร็จเรียบร้อย ก็เปิดเครื่องเลยครับ กดที่ start ปุ่มสามเหลี่ยมเขียว ๆ14.เริ่มทำงาน ติดตั้งเหมือนเครื่องจริงทุกประการ15.เมื่อจะนำเคอร์เซอร์ ออกจากเครื่องจำลองให้กด Ctrl+alt เคอร์เซอร์ ก็จะสามารถมาโลดแล่นข้างนอกได้ จะเข้าไปใช้ในเครื่องจำลองก็เพียงกดที่ หน้าจอเครื่องจำลองหมายเหตุถ้าต้องการก็อปข้อมูลจากเครื่องจริงไปดิสก์จำลองล่ะ ทำไง ก็ดับเบิ้ลคลิ๊กที่ Devices Hard Disk ของเครื่องจำลองนั้น ๆ แล้วทำการ Map กำหนดพารามิเตอร์ของไดร์ เสร็จแล้วไดร์จะไปโชว์ที่ My Computer กรณีที่ติดตั้งระบบ Unix อย่างเช่น Debian ซึ่งมีตั้ง 21 แผ่นซีดี หรือ 3 แผ่น ดีวีดี ไม่รู้ว่าทำไมมันมากมายปานนั้น เมื่อเครื่องถามหาแผ่นใหม่ (กรณีใช้ติดตั้งจากอิมเมจไฟล์) คลิ๊กขวาที่มุมด้านล่างขวาสุดที่เป็นรูปไดร์ซีดี Edit เลือกอิมเมจไฟล์ อันที่เครืองถามหา
URL
http://www.jodoi.com/vmware/vmware.html

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ความหมาย ของ VMWARE

ความหมาย ของ VMWARE

โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่


http://www.softpedia.com/get/System/OS-Enhancements/VMware-Workstation.shtml

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ชุดคำสั่ง

คำสั่ง
man เป็นคำสั่งการแสดงอธิบายการใช้คำสั่ง
alias ใช้เป็นคำสั่งให้สั้นลง
cal ใช้แสดงปฏิทินของระบบ
clear คำสั่งลบข้อความต่างๆบนหน้าจอ
cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์
cat มีค่าเหมือนคำสั่ง type ของ bos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์
cut สำหรับตัดtext
date ใช้แสดงเวลาและวันที่
diff ใช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์มีความคล้ายต่างหันอย่างไร
echo ใช้แสดงข้อความ HELLO
exit ออกจากระบบ UNIX
exipr ประมวลค่าจากสูตรคณิตศาสตร์
find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ
finger ใช้สำหรับแสดงรายละเอียด
grep เป็นคำสั่งที่ใชหาข้อความในไฟล์
head จะแสดงส่วนห้วแฟ้มข้อมูล
move คำสั่งที่ช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดได้เป็นช่วงๆ
less เป็นไฟล์ข้อความเพื่อดูรายละเอียดอย่างรวดเร็ว
passwd เป็น password คนที่ทำงานปัจจุบัน
sort ใช้จัดเรียงข้อมูลนั้นเป็นการช่วยให้ผู้ดูแลข้อมูลนั้นสะดวกขึ้น
su เพื่อให้ระบบมีความปลอดภัยมากขึ้นกำหนดให้ user คนไหนบ้าง
tail ใช้สำหรับดูข้อมูลที่บรรทัดล่างสุดของไฟล์
touch เป็นการสร้างไฟล์ไหม่หรือแก้ไขไฟล์
w เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดค่าที่ 8 บิต
whoami เป็นคำสั่งที่แสดงว่าผู้ใช้ logni เข้าสู่ระบบ
who เปลี่ยนตัวเองเป็น root
which ส่งข้อมูลจากผู้เขียนไปยังผู้รับ
whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด

URL http://www.mindphp.com/modules.php?name=News&file=article&sid=56&mode=thread&order=0&thold=0

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

directory

directory


ไฟล์จะเก็บไว้ใน directory ในแต่ละ directory อาจจะไม่มีไฟล์เลยก็ได้ หรือ อาจจะมีไฟล์เป็น ร้อยๆ ไฟล์ก็ได้ และ ใน directory หนึ่งๆ ยังสามารถมี directory อื่นๆ อยู่ภายในได้อีก เป็น ลักษณะ directory ซ้อน directory ทั้งหมดนี้เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด ในการจัดการโครงสร้าง การจัดเก็บข้อมูล
ไฟล์ และ directory ถูกอ้างถึงได้ด้วย ชื่อไฟล์ และ ชื่อ directory ตามด้วยเครื่องหมาย slash , "/" ตามด้วยชื่อ directory อื่นๆ ตามความจำเป็น เช่น สมมุติว่าเรามี directory ชื่อ foo ซึ่งมี diretory ชื่อ bar อยู่ภายใน และมีไฟล์ชื่อ readme.txt อยู่ภายในอีกที ดังนั้น ชื่อเต็มๆ หรือ ที่เรียกว่า path ของไฟล์ readme.txt ก็คือ foo/bar/readme.txt
ไฟล์ และ directory ถูกจัดเก็บไว้ใน filesystem ซึ่งแต่ละ filesystem จะมี directory ประจำที่อยู่ตำแหน่งบนสุดของ directory ทั้งหมด เราเรียกว่า root directory ของ filesystem และ root directory มีความสำคัญมากเพราะ เป็นตัวเก็บ directory อื่นๆ ทั้งหมด
ทั้งนี้ทั้งนี้น เราอาจคุ้นเคยกับวิธีการข้างต้น ในระบบปฎิบัติการอื่น ที่เราเคยใช้งาน อาจมีความแตกต่างกันบ้าง เช่น MS-DOS ใช้ "\" เป็นตัวแยกชื่อไฟล์ และ ชื่อ directory ขณะที่ Mac OS กลับใช้ ":" แทน
FreeBSD ไม่มีการใช้ ชื่อ drive เช่น A: , B: , C: หรือ ชื่อ drive ใน path ตัวอย่างเช่น ใน FreeBSD เราจะไม่เขียนว่า C:/foo/bar/read.txt
ในวิธีการของ FreeBSD จะมี filesystem หนึ่งที่ถูกกำหนด ให้เป็น root filesystem และ ตัว root directory ของ root filesystem จะถูกอ้างอิงด้วยเครื่องหมาย "/" แล้ว filesystem อื่นๆ จะถูก mounted ให้มาอยู่ภายใต้ root filesystem อีกที ทั้งนี้ไม่ว่าเราจะมี disk มากเท่าไรก็ตาม ระบบของ FreeBSD จะถือว่า directory เหล่านั้น เป็นส่วนหนึ่งของ disk ตัวแรกเสมอ
สมมุติว่า เรามี filesystem จำนวน 3 filesystems มีชื่อเรียกว่า A , B , และ C แต่ละ filesystem ต่างก็มี root directory ซึ่งต่างก็มีอีก 2 directory อยู่ภายใน มีชื่อเรียกว่า A1, A2 (และเป็นลำดับไป เป็น B1 , B2 และ C1 , C2)
เมื่อเรียกดู root filesystem ของ A ด้วยคำสั่ง ls เราจะเห็น subdirectory A1 และ A2 อยู่ภายใน แสดงให้ดูได้ตามรูป

filesystem แต่ละอัน ต้องถูก mounted ให้ไปเป็น directory อยู่ในอีก filesystem หนึ่ง สมมุติว่า เรา mount filesystem B ให้อยู่ใน directory A1 ดังนั้น root directory ของ B จะแทนที่ A1 และ ข้อมูลใน directory B จะแสดงให้เห็นตามมา

เราสามารถ เข้าถึงไฟล์ต่างๆ ที่อยู่ใน directory B1 หรือ B2 ได้ด้วย path /A1/B1 หรือ /A1/B2 ตามลำดับ ทั้งนี้ไฟล์ต่างๆ ที่อยู่ใน /A1 จะถูกซ่อนไว้ชั่วคราว และจะแสดงตัวออกมาทันทีอีกครั้ง เมื่อ B ถูก unmount จาก A
และถ้า B ถูก mout เข้าไปใน A2 แล้ว สามารถแสดงให้เห็นได้ ดังนี้

ดังนั้น path สามารถอ้างได้แบบนี้ /A2/B1 และ /A2/B2 ตามลำดับ
เราสามารถ mount filesystem ให้อยู่ตำแหน่งบนสุด ของ filesystem อื่นได้ ในตัวอย่างสุดท้าย C filesystem สามารถถูก mount ให้อยู่ตำแหน่งบนสุด ของ directory B1 ใน B filesystem ได้ ตามรูปด้านล่าง

หรือ C สามารถถูก mount ไปที่ directory ของ A filesystem ซึ่งอยู่ภายใต้ directory A1 อีกที ตามรูป

แล้วถ้าใคร คุ้นเคยกับ MS-DOS จะเห็นว่า ระบบไฟล์ จะคล้ายๆ กัน
ทั้งหมดนี้ เราไม่ค่อยได้เกี่ยวข้องบ่อยนัก โดยทั่วไป เมื่อเราสร้าง filesystem ตอนเราติดตั้ง FreeBSD ครั้งแรก หลังจากตัดสินใจแล้วว่า จะ mount directory อะไร ไปเก็บไว้ที่ไหน แล้ว เราก็ไม่เคยไปเปลี่ยนแปลง อีกเลย จนกว่าเราจะมี disk ใหม่มาติดตั้งเพิ่ม
มีความเป็นไปได้ ที่เราจะสร้างเพียง 1 root filesystem ที่ใหญ่มากๆ โดยไม่สร้าง filesystem อื่นๆ อีกเลย วิธีแบบนี้ มีทั้งข้อดี และ ข้อเสีย
ข้อดึของ การมี filesystem จำนวนมาก
filesystem ที่แตกต่างกัน สามารถ mount ด้วยเงื่อนไขที่แตกต่างกัน เข่น root filesystem สามารถ mount ให้ อ่านได้เพียงอย่างเดียว เพื่อป้องกันไฟล์ สำคัญ ไม่ให้ถูกลบทิ้ง โดยบังเอิญ หรือ ป้องกันการแก้ไขไฟล์สำคัญต่างๆfilesystem ของ user เราอาจ mount ให้เขียนได้ เฉพาะ user รายนั้นๆ เช่น /home เราอาจ mout ด้วยเงื่อนไข nosuid เพื่อปรับปรุงด้านความปลอดภัย ให้เพิ่มมากขึ้น FreeBSD มีระบบการตรวจสอบ filesystem แบบอัตโนมัติ ประสิทธิภาพ ดัวกล่าว ขึ้นอยู่กับ จำนวนไฟล์ และ ขนาดของไฟล์ ใน filesystem และการใช้งาน ในแต่ละ filesystem สำหรับ filesystem ที่มีขนาดใหญ่มากๆ มักมีปัญหากับ การตรวจสอบ ของ FreeBSD ระบบ filesystem ของ FreeBSD อาจมีปัญหาจากกรณีไฟดับ หากเราจัดระบบ filesystem ให้มีจำนวนที่เหมาะสม กระจายกันเก็บข้อมูล เมื่อมีปัญหาด้านไฟดับ โอกาสในการสูญเสียก็น้อยลง และง่ายต่อการจัดทำการสำรองข้อมูล รวมถึงการ กู้ข้อมูลคืนด้วย
ข้อดี ของการมี filesystem เดียว
filesystem จะมีขนาดที่แน่นอน ถ้าเราสร้าง filesystem ตอนติดตั้ง FreeBSD และระบุขนาดให้แล้ว เราอาจจะมาพบภายหลังว่า ถ้าเราต้องการเพิ่ม partition ให้ใหญ่ขึ้น ซึ่งกรณีนี้ ไม่ง่ายเลยที่จะจัดการให้ได้ดี เราต้องสำรองข้อมูล สร้าง filesystem ด้วย การกำหนด ขนาดใหม่ และ ทำการนำข้อมูลเข้าใหม่ จากที่สำรองเก็บไว้ นับว่ายุ่งยากทีเดียว หมายเหตุสำคัญ : FreeBSD 4.4 และ version ที่สูงกว่า มีคำสั่ง growfs ที่สามารถขยายขนาด ของ filesystem ได้ทันที ทำให้ข้อจำกัดข้างต้น หมดไป
FreeBSD ยังมีการใช้ พื้นที่ใน disk สำหรับ การทำ swap space ใน FreeBSD นั้น swap space ทำหน้าที่เป็น หน่วยความจำเสมือน ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ของเรา มีหน่วยความจำ มากขึ้นกว่าที่มีอยู่จริง และ เมื่อ หน่วยความจำจริง ใน ถูกใช้ไปจนหมด FreeBSD จะย้ายข้อมูล จำนวนหนึ่งที่ยังไม่ใช้งาน ออกจากหน่วยความจำ มาอยู่บน swap space ก่อน และ จะย้ายกลับไป ในหน่วยความจำทันที เมื่อจำเป็นต้องใช้งาน
partitions และ ข้อตกลงในการใช้งาน
ใน disk 1 ตัว สามารถมีได้เพียง 4 physical slice เท่านั้น แต่เราสามารถกำหนด logical slice ภายใน physical slice ได้logical slice เริ่มนับ จากตัวเลข 5 เป็นตันไป ดังนั้น "ad0s5" จึงหมายถึง extended slice ตัวแรก ของ IDE disk โดย device เหล่านี้ถูกใช้ โดย file system
Slice ,"dangerously dedicaed" physical drives , และ dirves อื่นๆ ต่างประกอบด้วย partitions ซึ่งถูกอ้างถึงด้วย ตัวอักษร a ถึง h ตัวอักษรเหล่านี้ ใช้ต่อท้าย ชื่อ device ดังนี้น "da0a" จึงหมายถึง partition ใน da drive ตัวแรก ซึ่งเป็น "dangerously dedicated" และ "ad1s3e" จึงหมายถึง partition ตัวที่ 5 ใน slice ตัวที่ 3 ของ IDE disk drive ตัวที่ 2
สุดท้าย disk แต่ละตัว ในระบบ สามารถระบุ และ อ้างอิงได้ทั้งสิ้น ชื่อของ disk เริ่มต้นด้วย รหัส ที่บอกถึง ประเภทของ disk และตามมาด้วย ตัวเลข เพื่อบอกว่า เป็น disk ตัวที่เท่าไหร่ ซึ่งแตกต่างจาก slice ตัวเลข disk เริ่มต้นด้วยตัวเลข 0 ดูได้จาก Table 3-1
เมื่อพูดถึง partition ใน FreeBSD จะหมายถึง slice และ partition ที่มีอยู่ใน slice นั้น และ เมื่อพูดถึง slice เราจะหมายถึงชื่อของ disk แทน ดูรายละเอียดตาม Example 3-1
Example 3-2 แสดงภาพโครงร่าง ของ disk ที่จะช่วยให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น
ในการติตดั้ง FreeBSD เราต้องกำหนด disk slices เป็นอันดับแรก แล้วถึงไปสร้าง partitions ภายใน slice อีกที แล้วจึงสร้าง file system หรือ swap space ในแต่ละ partition และเสร็จสิ้น โดยการกำหนดว่า file system ตัวไหนบ้างทีจะถูก mount

shell


Unix shell
From Wikipedia, the free encyclopedia
Jump to: navigation, search

Screenshot of a sample Bash session, taken on Gentoo Linux.
A Unix shell, is a command line shell that provides the traditional user interface for the Unix operating system and for Unix-like systems. Users direct the operation of the computer by entering command input as text for a command line interpreter to execute.
The most generic sense of the term shell means any program that users use to type commands. Since in the Unix operating system users can select which shell they want to use (which program should execute when they login), many shells have been developed. It is called a "shell" because it hides the details of the underlying operating system behind the shell's interface (in contrast with the "kernel", which refers to the lowest-level, or 'inner-most' component of an operating system). Similarly, graphical user interfaces for Unix, such as GNOME, KDE, and Xfce can be called visual shells or graphical shells. By itself, the term shell is usually associated with the command line. In Unix, any program can be the user's shell. Users who want to use a different syntax for typing commands can specify a different program as their shell.
The term shell also refers to a particular program, such as the Bourne shell, sh. The Bourne shell was the shell used in early versions of Unix and became a de facto standard; every Unix-like system has at least one shell compatible with the Bourne shell. The Bourne shell program is located in the Unix file hierarchy at /bin/sh. On some systems, such as BSD, /bin/sh is a Bourne shell or equivalent, but on other systems such as Linux, /bin/sh is likely to be a link to a compatible, but more feature-rich shell. POSIX specifies its standard shell as a strict subset of the Korn shell.
Contents[hide]
1 Other types of shells
2 Shell categories
2.1 Bourne shell compatible
2.2 C shell compatible
2.3 Other or exotic
2.4 Configuration files for shells
2.5 Historic
3 Non-Unix shells
4 Further reading
5 See also
6 External links
//

[edit] Other types of shells
The Unix shell was unusual when it was first created. Since it is both an interactive command language and the language used to script the system, it is a scripting programming language. Many shells created for other operating systems offer rough equivalents to Unix shell functionality.
On systems using a windowing system, some users may never use the shell directly. On Unix systems, the shell is still the implementation language of system startup scripts, including the program that starts the windowing system, the programs that facilitate access to the Internet, and many other essential functions.
On MS-DOS, OS/2, and Windows, equivalents to Unix system scripts are called batch files, and have either a ".bat" or ".cmd" extension. A newer CLI - Windows PowerShell, will replace the existing NT command line, cmd.exe; it has many features derived from Unix shells, though it uses a somewhat different syntax.
Many users of a Unix system still find a modern command line shell much more convenient for many tasks than any GUI application.
Due to the recent movement in favor of open source, most Unix shells have at least one version that is open source.

[edit] Shell categories
Unix shells can be broadly divided into four categories: Bourne-like, C Shell-like, nontraditional, and historical.

[edit] Bourne shell compatible
Bourne shell (sh) -- Written by Steve Bourne, while at Bell Labs. First distributed with Version 7 Unix, circa 1978, and enhanced over the years.
Almquist shell (ash) -- Written as a BSD-licensed replacement for the Bourne Shell; often used in resource-constrained environments. The sh of FreeBSD, NetBSD (and their derivatives) are based on ash that has been enhanced to be POSIX conformant for the occasion.
Bourne-Again shell (bash) -- Written as part of the GNU project to provide a superset of Bourne Shell functionality.
Debian Almquist shell (dash) -- Dash is a modern replacement for ash in Debian and is expected to be the default /bin/sh for Debian Lenny.
Korn shell (ksh) -- Written by David Korn, while at Bell Labs.
Z shell (zsh) -- considered as the most complete (read: the most features) shell: it is the closest thing that exists to a superset of sh, ash, bash, csh, ksh, and tcsh.

[edit] C shell compatible
C shell (csh) Written by Bill Joy, while at the University of California, Berkeley. First distributed with BSD, circa 1979.
TENEX C shell (tcsh)

[edit] Other or exotic
fish, friendly interactive shell, first released in 2005.
mudsh, an "intelligent" game-like shell that operates like a MUD.
zoidberg, a modular Perl shell written, configured, and operated entirely in Perl.
rc, the default shell on Plan 9 from Bell Labs and Version 10 Unix written by Tom Duff. Ports have been made to Inferno and Unix-like operating systems.
es shell (es) A functional programming rc-compatible shell written in the mid-1990s.
scsh (Scheme Shell)
A list of various shells may be found at http://www.freebsd.org/ports/shells.html.

[edit] Configuration files for shells
Shells read configuration files on multiple circumstances which differ depending on the shell. This table shows to configuration files for popular shells:
sh
ksh
csh
tcsh
bash
zsh
/etc/.login
no
no
login
login
no
no
/etc/csh.cshrc
no
no
no
yes
no
no
/etc/csh.login
no
no
no
login
no
no
~/.tcshrc
no
no
no
yes
no
no
~/.cshrc
no
no
yes
yes
no
no
~/.login
no
no
login
login
no
no
~/.logout
no
no
login
login
no
no
/etc/profile
login
login
no
no
i.login
no
~/.profile
login
login
no
no
login
no
~/.bash_profile
no
no
no
no
login
no
~/.bash_login
no
no
no
no
login
no
~/.bashrc
no
no
no
no
n/login
no
/etc/zshenv
no
no
no
no
no
yes
/etc/zprofile
no
no
no
no
no
login
/etc/zshrc
no
no
no
no
no
int.
/etc/zlogin
no
no
no
no
no
login
/etc/zlogout
no
no
no
no
no
login
~/.zshenv
no
no
no
no
no
yes
~/.zprofile
no
no
no
no
no
login
~/.zshrc
no
no
no
no
no
int.
~/.zlogin
no
no
no
no
no
login
~/.zlogout
no
no
no
no
no
login
Explanation:
"no" means a file is not read by a shell at all.
"yes" means a file is always read by a shell.
"login" means a file is read if the shell is a login shell.
"n/login" means a file is read if the shell is not a login shell.
"int." means a file is read if the shell is interactive.
"i.login" means a file is read if the shell is an interactive login shell.

[edit] Historic
Thompson shell (sh) -- The first Unix shell, written by Ken Thompson at Bell Labs. Distributed with Versions 1 through 6 of Unix, from 1971 to 1975. Considered very rudimentary by modern standards and not used on current systems, though available as part of some Ancient UNIX Systems.
PWB shell or Mashey shell (sh) -- A version of the Thompson shell, augmented by John Mashey and others, while at Bell Labs. Distributed with the Programmer's Workbench UNIX, circa 1976.

[edit] Non-Unix shells
Within the Microsoft Windows suite of operating systems the analogous programs are command.com, or cmd.exe for Windows NT-based operating systems, and Windows PowerShell introduced with Windows Server 2008.

[edit] Further reading
Ellie Quigley (2001). "Introduction to UNIX shells", Unix Shells by Example. Prentice Hall PTR. ISBN 013066538X. — a history of the various shells, and the uses of and responsibilities of a shell on Unix

[edit] See also
Shell (computing)
Comparison of command shells
Shell script
List of Unix programs
Shell account

โครงสร้าง UNIX

โครงสร้าง UNIX
วันนี้ได้อ่านบทความจากงานสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Unix นั้น สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระดับด้วยกัน คือ
1.ฮาร์ดแวร์ ทุกคนก็คงรู้จักกันแล้วว่ามันคือ อุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้นั่นเอง
2.ยูนิกซ์ เคอเนล จะทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบตัวนี้จะขึ้นอยู่กับฮาร์แวร์ หากมีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอเนลก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยค่ะ
3.เซลล์ เป็นตัวกลางระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ คือ นำคำสั่งจากผู้ใช้ไปแปลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ เรียกว่า command interpreter เซลล์ที่ใช้งานกันก็มีหลายแบบ แต่ที่เป็นที่นิยม ได้แก่
-->Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุกเซลล์
-->C shell (csh) พัฒนาหลังจาก Bourne shell แต่สามารถเก็บข้อมูลคำสั่งที่เคยใช้ได้
-->Korn shell (ksh) เป็นเซลล์ที่นำคุณสมบัติเด่นของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน
-->Bourne again shell (bash) มีลักษณะคล้าย Korn shell และสร้างขึ้นมาให้มีการใช้ฟรี ซึ่งระบบปฏิบัติการ Linux ก็นำมาใช้ด้วยเช่นกัน
http://com.md.kku.ac.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=118

คุณสมบัติของ UNIX

คุณสมบัติของระบบ UNIX


•Software Tool
–โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้
•Portability
–เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน
•Flexibility
–UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้

•Power
–สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ
•Multi-user & multitasking
–สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน
•Elegance
–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย

•Network Orientation
–UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internet

http://209.85.175.104/search?q=cache:Zjokg6h1wyUJ:www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%2520June%252001)/Unix.ppt+%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3unix&hl=th&ct=clnk&cd=4&gl=th
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี

ประวัติความเป็นมาของระบบปฏิบัติการunix


ยูนิกซ์คืออะไร

-เป็นระบบปฏิบัติการชนิดหนึ่ง
-ตอบสนองการทำงานแบบระบบเปิด(Open System) ไม่ผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือเป็นอุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน
-ใช้งานในลักษณะผู้ใช้หลายคน(Multi-users)
-สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกันในเวลาเดียวกัน (Multi-tasking)
-มีความสามารถเชื่อมโยงเป็นระบบเครือข่าย และการจัดสรร ทรัพยากรร่วมกัน


ประวัติความเป็นมาของ UNIX

บริษัท AT&T ร่วมมือกับ AIT พัฒนาระบบ MULTICS ขึ้นมาในช่วงปี 1960 MULTICS ทำท่าว่าจะไปไม่รอด AT&T จึงถอนตัวออกจากโครงการ นักพัฒนาของ AT&T จึงได้นำความรู้และปัญหาจากโครงการ MULTIC พัฒนาระบบใหม่แล้วสร้างเป็นระบบปฏิบัติการขึ้นมา และใช้ชื่อว่า UNIX ในช่วงแรก UNIX ยังถูกใช้งานกับเครื่อง PDP-7 และ PDP-11 ของ AT&T เท่านั้น
ในช่วงปี 1973 UNIX ถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งหมด โดยใช้ภาษา C ซึ่งเป็นจุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญมากที่สุดอย่างหนึ่งของ UNIX เพราะ
ทำให้ UNIX สามารถนำไปใช้ได้กับเครื่องหลายชนิด แก้ไขระบบได้ง่ายกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่เขียนด้วยภาษา Assembly ราคาถูกลง AT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software Distribution UNIX) ซึ่งเขียนโดย University of California ที่ Berkeley ระบบ UNIX ตัวนี้แจกฟรี และกลายเป็น UNIX ที่ใช้กันอย่างกว้างขวางตัวหนึ่งโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย เมื่อเครื่อง PC มีความสามารถสูงขึ้นและราคาถูกลงทำให้เกิด UNIX ที่ใช้บน PC ขึ้นมาชื่อว่า XENIX ในช่วงกลางทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนา X-window ขึ้นมา ทำให้การใช้งาน UNIX เริ่มมี Graphic User Interface AT&T ได้ทำการพัฒนา UNIX ของตนขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งถึงรุ่น System V Release 4 (SVR4) AT&T ได้รวมข้อกำหนดและมาตรฐานต่างๆ ของ BSD UNIX และ XENIX เข้าไปด้วย ทำให้โปรแกรมที่ออกมาสำหรับ BSD UNIX และ XENIX สามารถนำไปใช้บน SVR4 ได้ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มนักพัฒนาและบริษัทอื่นๆวิตกว่า AT&T จะผูกขาดการกำหนดมาตรฐานของ UNIX จึงได้รวมตัว ในจัดตั้ง Open Software Foundation (OSF) ขึ้นมาเพื่อวิจัยและกำหนดมาตรฐานต่างๆ ของระบบ UNIX ขึ้นมาป้องกันการผูกขาดของ AT&T


http://209.85.175.104/search?q=cache:Zjokg6h1wyUJ:www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%2520June%252001)/Unix.ppt+%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3unix&hl=th&ct=clnk&cd=4&gl=th
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี

แหล่งทรัพยากร UNIX

ภาพนิ่ง 1รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLUnix เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กับแพร่หลายบนระบบขนาดใหญ่ ... Unix เป็นระบบ ปฏิบัติการแบบ Multi User และMulti Tasking ซึ่งแตกต่างจาก Window ...www.csweb.sru.ac.th/~seksan/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติรูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

UNIXรูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมาเรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

Slide 1รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ... 1978 Version 7 ก็ ถูกพัฒนาออกมา ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบ UNIX รุ่นใหม่ๆ หลังจากนั้นAT&T ...202.28.94.51/users/apisak/322361/2548/Test_Assign_Page.files/Data_REPORT/Group11_OS_Support/group11.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

Unix-doc <>UNIX อนุญาตให้ผู้ใช้ รู้การทำงานของซีพียูว่ามีงานอะไรวิ่งอยู่ งานเหล่านี้ถูก เรียกว่า โปรเซส (process) นี่เป็นข้อดีที่UNIX มีเหนือวินโดส์ 95 และ ...wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc - 26k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

ภาพนิ่ง 1รูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX)เป็นระบบปฏิบัติการ ... 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูก ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1220294266-unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถาม ความรู้เบื้องต้นเกียวกับUNIX

unix เบื้องต้น


1. Unix เป็นโปรแกรมจัดการระบบงาน (Operating system) ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่ง ได้รับการออกแบบโดยห้องปฏิบัติการเบลล์ของบริษัท AT&T ในปี คศ. 1969 ถึงแม้ว่าระบบ Unix จะคิดค้นมานานแล้ว แต่ยังเป็นที่นิยมใช้กันมากมาจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบ พื้นฐานของอินเตอร์เนต เนื่องจากมีความคล่องตัวสูง ตลอดจนสามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์หลายชนิด นอกจากนั้น Unix ยังเป็นระบบ ใช้ในลักษณะผู้ใช้ร่วมกันหลายคน (Mutiuser) และงานหลายงานในขณะเดียวกัน (Mutitasking) ผู้ใช้สามารถดัดแปลง หรือเพิ่มคำสั่งใน Unix ด้วยตนเองเพื่อความสะดวกได้ ในปัจจุบันพบว่าระบบ Unix ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องที่มีขนาดใหญ่ราคาแพง เช่น SunOS IBM AIX HP เนื่องจากได้มีกลุ่มคิดค้นระบบ Unix ที่สามารถใช้กับเครื่อง PC 486 ธรรมดา เราเรียกระบบปฏิบัติการนี้ว่า Linux เขียนได้ใช้ระบบดังกล่าวเป็นระบบหลักในการศึกษาและเขียนเป็นตำราใน http://passkorn.hypermart.net/

2. Unix Kernel Kernel เป็นส่วนของ Unix ที่ทำหน้าที่จัดการ Hardware ต่างๆของคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ CPU เครื่องพิมพ์ CD ROM ฯลฯ ในปัจจุบันจะพบว่ามี Unix Kernel Programes ผลิตออกมาหลายบริษัทด้วยกัน เช่น Unix System V , BSD Unix ฯลฯ

3.Shell โดยปกติผู้ใช้จะไม่สามารถติดต่อหรือใช้ Unix Kernel โดยตรง แต่จะมี software ที่เป็นตัวตีความหมายคำสั่งของผู้ใช้ให้กับ Unix Kernael อีกทีหนึ่ง ดังภาพ
Software ที่ทำหน้าที่นี้เรียกโดยทั่วไปว่า "Shell" เช่นกันก็จะมีผู้ผลิต Shell ขึ้มาอย่างมากมาย แต่ที่นิยมใช้งานมากที่สุดคือ "Bourne Shell" ซึ่งถูกเรียกตามผู้คิด คนแรกก็คือ Steven Bourne จะสามารถสังเกตได้โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ใน Bourne Shell จะมี "พร้อม" (prompt) เป็น $ "C shell" เป็น shell ที่นิยมใช้กันมากเช่นกัน โดยผู้เขียนคนแรก ก็คือ Bill Joy (เป็นคนเขียน vi บนยูนิกซ์ด้วยเช่นกัน) ปัจจุบัน Bill Joy ทำงาน ให้กับบริษัท Sun Microsystems (เขาเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทคนหนึ่งด้วย) "C shell" จะมีเครื่องหมาย prompt เป็น % และยังมี "Korn shell" มี prompt เป็น $ Korn shell เป็นการนำเอาข้อดีของ Bourne และ C shell มารวมกัน ถ้าจะเข้าสู่ C shell ให้พิมพ์ csh ถ้าจะเข้าสู่ Korn shell ให้พิมพ์ ksh ส่วนใหญ่เมื่อผู้ใช้ login ระบบเข้ามามักจะเป็น Bourne

วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำอธิบายรายวิชาและ e-learning

ที่มาจาก
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต http://mis.pkru.ac.th/syllabus/view_syllabus.php?id=61
มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี http://202.29.21.6/~bangkom/bindex.htm
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ http://academic.pcru.ac.th/index/course/7_12.htm
มรภ.หมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี http://cs.mcru.ac.th/modules.php?name=History&file=explain
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม http://cptd.chandra.ac.th/index.php?Content=subject47
มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์http://www.nsru.ac.th/computer/curriculum/subject.php?id=4121402&course_id=3
สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร์http://reg.nida.ac.th/registrar/program_info_1.asp?f_cmd=2&levelid=23&programid=10000314&facultyid=4&departmentname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%B4%D8%C9%AE%D5%BA%D1%B3%B1%D4%B5+(%C7%D4%B7%C2%D2%A1%D2%C3%A4%CD%C1%BE%D4%C7%E0%B5%CD%C3%EC)&programname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%#current
มหาวิทยาลัยโยนกhttp://www.yonok.ac.th/burin/os/os00.htm
วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานีhttp://202.143.169.83/moodle/course/info.php?id=16
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรhttp://tabian.kpru.ac.th/cur/cur2.asp?Code=4122402

คำอธิบายรายวิชา ระบบปฏิบัติการ 2

4121402 ระบบปฏิบัติการ 2 (Operating Systems 2 )ศึกษาหน้าที่และการดำเนินงานของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับจัดการหน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง การจัดแฟ้มข้อมูล หน่วยรับและแสดงผลข้อมูลในลักษณะของผู้ใช้คนเดียว งานเดียว และใช้หลายคนหลายงานพร้อมกัน รวมทั้งการสื่อสารระหว่างขบวนการ (Interprocess Communication : IPC)

แนะนำตัว

ชื่อ นาย นราทิพย์ กึ่งวงษ์
ชื่อเล่น ปิง
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ห้อง1
รหัสนักศึกษา 5012252107
Tel. 085220501
mail ping_bo1@hotmail.com
URL http://naratipkungwong.blogspot.com/
http://www.geocities.com/ping_bo1/
เพื่อนสนิท
ชื่อ ธีรยุทธ สิงห์ก้าน
ชื่อเล่น โด่ง
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ห้อง 1
หรัสนักศึกษา 5012252106
mail Dong_dong_z@hotmail.com
URL http://trayunt.plogspot.com/
Tel 0835943447


ชื่อ วิทยา ศิรินัย
ชื่อเล่น บิ๊ก
วิทยาการคอมพิวเตอร์ห้อง 1
รหัสนักศึกษา 5012252111
mail big_n99@hotmail.com
URL http://bign99.com/
Tel 0851396109